บทความ

ส่งงานครั้งที่ 5 ระบบควบคุณภาพในสถานประกอบการ

มาตรฐาน ISO 9001 ISO 9001 เป็นมาตรฐานสากลที่องค์กรธุรกิจทั่วโลกให้ความสำคัญ เพื่อความเป็นเลิศทางด้านคุณภาพ และความมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานภายในองค์กร ISO 9001 จึงเป็นระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐานสากล แนวคิดสำคัญของ ISO 9001 คือการจัดวางระบบบริหารงานเพื่อการประกันคุณภาพ ซึ่งเป็นระบบที่ทำให้เชื่อมั่นได้ว่ากระบวนการต่างๆ ได้รับการควบคุมและสามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบที่ระบุขั้นตอนและวิธีการทำงาน เพื่อให้มั่นใจว่าบุคลากรในองค์กรรู้หน้าที่ความรับผิดชอบและขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบัติงาน โดยต้องมีการฝึกอบรมให้ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน มีการจดบันทึกข้อมูล รวมทั้งการตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามที่ระบุไว้ในระบบหรือไม่ และมีการแก้ไขข้อผิดพลาดรวมทั้งมีแนวทางในการป้องกันข้อผิดพลาดเดิม ในปัจจุบันมาตรฐาน ISO 9001:2015 มีการเพิ่มข้อกำหนดในเรื่องการทำความเข้าใจกับองค์กรและบริบทองค์กร การทำความเข้าใจกับความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อใช้สำหรับการดำเนินการกับความเสี่ยงและโอกาสรวมถึงข้อกำหนดอื่นๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรสามารถมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่

ส่งงานครั้งที่4 การจัดการความขัดแย้งในองค์กร

การจัดการความขัดแย้งในองค์กร  การหลบหลีกความขัดแย้ง  (Avoiding Style)                     ผู้เกี่ยวข้องจะใช้ความเพิกเฉยในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง โดยจะไม่มีการให้ความสนใจทั้งประโยชน์ของตนและประโยชน์ของผู้อื่น หรือไม่ให้ความร่วมมือกับฝ่ายตรงข้าม และพยายามหลบหลีกหรือหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความขัดแย้ง ซึ่งแม้วิธีการนี้จะเป็นการลดภาวะตึงเคียดได้ระยะหนึ่งแต่จะไม่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ได้อย่างแท้จริง แต่หากความขัดแย้งเป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ เป็นความขัดแย้งที่ไม่รุนแรงและไม่มีความชัดเจน การบริหารความขัดแย้งโดยการวางเฉยจะมีความเหมาะสมอย่างมาก หรือในกรณีที่สถานการณ์ที่รุนแรงและเป็นอันตรายหากเข้าไปเกี่ยวข้อง การหลีกเลี่ยงก็เป็นกลยุทธ์ที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้       การให้ความช่วยเหลือ  (Accommodating Style)                    การจัดการความขัดแย้งวิธีนี้คือการให้ความช่วยเหลือฝ่ายตรงข้าม หรือการให้ความร่วมมือโดยไม่สนใจว่าฝ่ายของตนเองจะได้รับผลประโยชน์อะไรบ้าง การใช้กลยุทธ์การให้ความช่วยเหลือจะเหมาะกับสถานการณ์ที่ความขัดแย่งค่อนข้างรุนแรงหรือวิกฤติ         การแข่งขัน  (Compet

ส่งงานครั้งที่3 การควบคุมความเสี่ยงในองกรค์

การประเมินความเสี่ยง 1การชี้บ่งอันตราย คือการแจกแจงความเป็นอันตรายที่แอบแฝงอยู่ในสถานที่ทำงานในการประกอบกิจกรรมทั้งหมด ตั้งแต่การเก็บ การขนถ่าย การใช้วัตถุดิบ เชื้อเพลิง สารเคมี ผลิตภัณฑ์ เครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ ตลอดจนกระบวนการผลิต และขั้นตอนวิธีปฏิบัติงาน ต้องมีการชี้บ่งโดยการทำ 1.1 Checklist เป็นวิธีที่ใช้ในการชี้บ่งอันตราย โดยการนำแบบตรวจไปใช้ในการตรวจสอบการดำเนินงานในโรงงาน เพื่อค้นหาอันตาย ซึ่งแบบตรวจ ประกอบด้วยหัวข้อคำถามที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบว่าได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการออกแบบ มาตรฐานการปฏิบัติงาน หรือกฏหมาย เพื่อนำผลจากการตรวจสอบมาทำการชี้บ่งอันตราย 1.2 What-if Analysis เป็นกระบวนการในการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนเพื่อชี้บ่งอันตรายในการดำเนินงานต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมโดยการใช้คำถาม “ จะเกิดอะไรขึ้น……ถ้า……..” (What if) และหาคำตอบในคำถามเหล่านั้นเพื่อชี้บ่งอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในการดำเนินงานในโรงงาน 1.3 HAZOP (Hazard and Operability Study) สำนักพัฒนาศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ 1 เป็นเทคนิคการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนเพื่

ส่งงานครั้งที่2 กิจกรรมที่เพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร

รูปภาพ
กิจกรรม 7 ส ความเป็นมากิจกรรม  7ส         นับตั้งแต่ปีการศึกษา 2542  มหาวิทยาลัยได้ให้ความสำคัญในเรื่องคุณภาพและมีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพโดยใช้กิจกรรม 5ส  เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพ  นับเป็นเวลา 10 ปี มาแล้วที่เรื่องของ 5ส  อยู่ในหัวใจการทำงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ  ในปีการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัย  จึงได้พัฒนาคุณภาพโดยนำระบบ 7ส  มาใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน  เพื่อให้งานเกิดคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากขึ้น  โดยให้ความสำคัญในเรื่องของความสวยงามและสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมจากกิจกรรม 5 ส ที่ผ่านมา ความหมายของ  7ส        7ส คือ กิจกรรมพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพภายในองค์กร ประกอบด้วย สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย สวยงาม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งช่วยให้หน่วยงานมีประสิทธิภาพในการทํางานที่ดีขึ้นอย่างเสมอต้นเสมอปลาย และยังช่วยให้เกิดความปลอดภัยในการทํางานมากขึ้น รวมทั้งยังช่วยทําให้บุคลากรมีจิตสํานึกในการทํางานที่มีระเบียบ เรียบร้อย มีใจรักสถานที่ทํางานและมีความร่วมมือในการทํางานกับผู้อื่น ทําให้บรรยากาศในการทํางานดีขึ้น ส1  สะสาง   “แยกให้ชัด ขจ

งานครั้งที่1 ผังโครงสร้างองค์การ ในสถานที่ฝึกงาน

รูปภาพ
เป็นการจัดโครงสร้างองค์การแบบ ตามหน้าที่การงาน           หมายถึง โครงสร้างที่จัดตั้งขึ้นโดยแบ่งไปตามประเภทหรือหน้าที่การงาน เพื่อแสดงให้เห็นว่าในแต่ละแผนกนั้นมีหน้าที่ต้องกระทำอะไรบ้าง ซึ่งผลดีก่อให้เกิดการได้คนมีความสามารถทำงานในแผนกนั้น ๆ ทั้งยังฝึกบุคคลในแผนกนั้น ๆ ให้มีความเชี่ยวชาญกับหน้าที่ของงานนั้นอย่างลึกซึ้ง สำหรับฝ่ายบริหารระดับสูงนั้นก็เป็นเพียงแต่กำหนดนโยบายไว้กว้าง ๆ เพราะมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านคอยป้อนข้อมูลที่ถูกต้องให้พิจารณาตัดสินใจและให้มีความผิดพลาดได้น้อยมาก อีกประการหนึ่งในแต่ละแผนกนั้น เมื่อทุกคนมีความเชี่ยวชาญงานในหน้าที่ชนิดเดียวกัน ย่อมก่อให้เกิดการประสานงานได้ง่ายเนื่องจากแต่ละคนมีความสนใจในงานและใช้ภาษาเดียวกัน ทำให้สามารถสร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีได้ง่ายนอกจากนั้น การบริหารงานก็เกิดความประหยัดด้วย เพราะแต่ละแผนกได้ใช้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านสร้างผลิตผลได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย การใช้เครื่องจักรและแรงงานก็ใช้ได้ผลคุ้มค่า อย่างไรก็ตาม การจัดรูปแบบองค์การแบบนี้ก็มีผลเสียในทางการบริหารหลายประการ อาทิเช่น การแบ่งงานออกเป็นหลายแผนกและมีผู้เชี่ยวชาญหลายคน ทำให้การวาง

งานแก้ไข แยก อธิบายส่วนต่างๆของproject

รูปภาพ
HARDWARE 1.Arduino uno r3 2.bluetooth hc 06 3.2N2222 4.1N4007 5.relay 6.load INPUT 1.bluetooth hc 06 MCU 1.Arduino uno r3 OUTPUT 1.relay 2.load SOFTWARE #include <SoftwareSerial.h>                         เรียกใช้Library bluetooth const int rxPin = 4;                                         Rx PIN ใช้ขา4 const int txPin = 2;                                         TX PIN ใช้ขา2 SoftwareSerial mySerial(rxPin, txPin);         กำหนดค่าลงใน Library bluetooth const int Loads[] = {9, 10, 11, 12};              กำหนด ตัวแปร อาเรย์ int state = 0;                                                  ตัวแปร state = 0 int flag = 0;                                                   ตัวแปร flag = 0 void setup()  {    for (int i=0;i<4;i++)                                  ถ้า INT เท่ากับ0และน้อยกว่า4 ให้ i+ไปเรื่อยๆ     {       pinMode(Loads[i], OUTPUT);              กำหนดให้ Load โดยเกบค่าตัวแปรอาเรย์ i เป็น OUTPUT       }    mySerial.be

งานที่ 20 หุ่นยนต์ติดตามวัตถุ Ultrasonic

รูปภาพ
HARDWARE SOFTWARE #include <Servo.h> #include <NewPing.h> // Motor A pins (enableA = enable motor, pinA1 = forward, pinA2 = backward) int enableA = 3; int pinA1 = 6; int pinA2 = 7; //Motor B pins (enabledB = enable motor, pinB2 = forward, pinB2 = backward) int enableB = 5; int pinB1 = 8; int pinB2 = 9; #define TRIGGER_PIN  A0 // Arduino pin tied to trigger pin on the ultrasonic sensor. #define ECHO_PIN     A1  // Arduino pin tied to echo pin on the ultrasonic sensor. #define MAX_DISTANCE 25 // Maximum distance we want to ping for (in centimeters). Maximum sensor distance is rated at 400-500cm. NewPing sonar(TRIGGER_PIN, ECHO_PIN, MAX_DISTANCE); // NewPing setup of pins and maximum distance. Servo myservo;  // create servo object to control a servo // a maximum of eight servo objects can be created int pos = 23; int distance = 0; int stepsize = 5; int detect = 0; void setup() {   Serial.begin(115200); // Open serial monitor at 115200 baud to see ping results.   pinMod